วันเสาร์ที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2554

วันจันทร์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2554

บทที่4

1.เริ่มต้นสร้าง
   ไปที่เมนู File > new > OK
    
 

2.ได้พื้นที่ว่าง


3.คลิก File > open > เลือกรูปที่ต้องการ


4.คลิก Window > Animation


5. คลิกขวา Layer0 > Duplicate Layer ( เลือก2ครั้ง )


6.คลิก Duplicates selected frame ( เลือก 3 ครั้ง )

7.คลิก image > Adjustments > Hue/Saturation
8.ปรับสีแต่ละอัน

9.ปรับสีจนถึงอันที่ 4 > แล้วกด play
10.คลิก File > save for Web > save


วันจันทร์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2554

บทที่3

1. เริ่มต้นสร้าง

   ไปที่เมนู start > คลิกที่โปรแกรม Photoshop




   เปิดโปรแกรมPhotoshop



เริ่มทำภาพ animation

  วิธีการทำอยู่ในบทที่4

วันจันทร์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2553

บทที่2

    โปรแกรมPhotoshopใช้สำหรับทำ สร้างภาพanimation  
มีความสามารถ คือ   1.สามารถตกแต่งหรือแก้ไขรูปภาพ
                                  2.สามารถปรับสีของภาพได้
                                  3.สามารถปรับเปลี่ยนขนาดของภาพได้
1.ผู้ผลิต : บริษัท Adobe
2.ขนาดไฟล์ :  11.9MB.
3.ลิขสิทธิ์  : Freeware
4.ระบบ OS   :  Window XP
5.เวอร์ชั่นรุ่น : 9.0

วันจันทร์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

คำนำ

  ข้าพเจ้าเด็กหญิงธัญกมล ทองก้อนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่2/1 เลขที่26 โรงเรียนถาวรานุกูล อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม สำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษา เขต10
  กำลังศึกษาวิชาทฤษฎีความรู้ ( Theory of knowlage : TOK ) มีประเด็นความรู้ที่สนใจคือการสร้างภาพanimationจึงตั้งประเด็นศึกษาว่า"โปรแกรมPhotoshopใช้สร้างanimationอย่างไร"
  การศึกษาหาความรู้โดยละเอียดได้กระทำดังนี้
      1.จากอินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ http://www.oknation.net/blog/19/2010/02/08/entry-3
      2.จาก
      3.จาก
  ผลที่คาดว่าจะได้รับจาการศึกษาครั้งนี้คือ รู้วิธีการสร้างภาพanimationจากโปรแกรมPhotoshopจริงอย่างที่ได้ตั้งประเด็นศึกษาไว้
                                                                                            เด็กหญิงธัญกมล ทองก้อน
                                                                                          นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่2/1

วันจันทร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

โปรแกรมPhotoshopใช้สร้างanimationอย่างไร

การทำ Animation เบื้องต้นด้วยโปรแกรม Photoshop

วิธีการสร้างภาพ"แอนิเมชั่น"เรื่องแสงด้วย"Photoshop CS4"

1. ลำดับแรกหาภาพที่เราจะนำมาใช้จะเป็นภาพในเครื่องที่เรามีอยู่แล้วหรือสามารถค้นหาได้ทางอินเตอร์เน็ต หากเป็นภาพที่ได้จากอินเตอร์เน็ตเมื่อพบภาพที่เราต้องการก็ทำการบันทึกภาพลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา
2. เปิดหน้าบร้าวเซอร์ "Photoshop CS4" ขึ้นมา แล้วเปิดไฟล์ภาพที่เราต้องการขึ้นมาทำการลบพื้นหลังที่เราไม่ต้องการออก จะลบออกหรือไม่ก็ได้แล้วแต่ความเหมาะสมของภาพนั้นว่าควรมีภาพพื้นหลังอยู่หรือไม่
3. ปรับสี ทำการปรับสีของภาพต้นแบบตามที่เราต้องการโดยใช้"เคอร์เซอร์เมาส์"คลิกไปที่แถบเมนูบาร์ด้านบนของหน้า"บร้าวเซอร์" คลิกที่ Image เมื่อปรากฎแถบคำสั่งขึ้นมาใช้"เคอร์เซอร์เมาส์"ชี้ไปที่ Adjustments จะปรากฎแถบคำสั่งอีกชั่นหนึ่งขึ้นมาให้คลิกที่ Hue/Saturation จะปรากฎหน้าคำสั้งขึ้นมา (ในขั้นตอนนี้หากใช้ปุ่มลัดแค่กดปุ่ม "Ctrl+u" ที่แป้นคีย์บอร์ด) ให้คลิกแช่ที่ Hue แล้วลากดูจนได้สีที่เราต้องการ หรือจะใส่ตัวเลขลงไปในช่องคำสั่งก็ได้ + - ไม่เกิน 180 แล้วคลิก ok หรือกดปุ่ม Enter เราก็จะได้ภาพเริ่มต้นในสีที่เราต้องการ
4. ปรับขนาด ทำการปรับเปลี่ยนขนาดของภาพ คลิกไปที่แถบเมนูบาร์ด้านบนของหน้า"บร้าวเซอร์" คลิกที่ Image แล้วคลิกที่ Image Size (ปุ่มลัด Alt+Ctrl+I) เมื่อปรากฎหน้าคำสั่งขึ้นมาให้คลิกเลือกเครื่องหมายถูกที่ช่อง Constrain proportions เพื่อล๊อคขนาดของภาพให้อยู่ในสัดส่วนที่เหมาะสม แล้วใส่ตัวเลขทในช่องคำสั่งกำหนดขนาดของภาพ คลิก Ok เราก็จะได้ขนาดของภาพที่เราต้องการ
5. แอนิเมชั่น มาถึงขั้นตอนสำคัญคือการทำให้ภาพนิ่งกลายเป็นภาพเคลื่อนไหว ทำภาพปรกติให้การเป็นภาพเรืองแสงกระพริบได้ ให้เลือกแถบคำสั่งที่เมนูบาร์ที่ Window แล้วคลิกเพื่อให้เกิดเครื่องหมายถูกหน้าคำว่า Animation จะปรากฎแถบเครื่องมือเกี่ยวกับการสร้างภาพแอนิเมชั่นด้านล่างของบร้าวเซอร์
- เพิ่มเลเยอร์ ด้วยแถบคำสั่ง MASKS แล้วเลือกที่ LAYERS คลิกขวาที่เลเยอร์แรกจะปรากฎแถบคำสั่ง Duplicate Layer จะปรากฎหน้าคำสั่งขึ้นคลิก Ok ทำซ้ำอีกครั้งหนึ่งเพื่อให้เกิดภาพเป็น 3     เลเยอร์
- ตั้งเวลาภาพ ด้วยการคลิกที่ ANIMATION (FRAMES) บริเวณกรอบภาพ แล้วเลือกที่ 0.1 วินาที ลองปรับเปลี่ยนดูหลายๆแบบจะได้ภาพที่มีจังหวะในการกระพริบที่ต่างกัน

- สร้างภาพซ้อน ทำการCopyด้วยการคลิกที่คำสั้งด้านล่างสุด(ข้างภาพถังขยะเล็กๆ)จนเกิดภาพเรียงกัน 4 ภาพ แล้วไปที่ LAYERS มุมล่างขวา คลิกที่ภาพลูกตาที่อยู่ในช่องคำสั้งหน้าภาพเลเยอร์เพื่อให้ภาพหายไปจากแถบ ANIMATION (FRAMES) ตามที่เราต้องการ ให้ดูความสัมพันธ์ระหว่างแถบคำสั้ง ANIMATION (FRAMES) และ แถบคำสั่ง LAYERS ว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร
- ปรับความเข้มของภาพ เพื่อให้เกิดการกระพริบเมื่อเปิดภาพตามลำดับ ไปที่แถบเมนูบาร์ด้านบน คลิกที่ Image เมื่อปรากฎแถบคำสั่งขึ้นมาใช้"เคอร์เซอร์เมาส์"ชี้ไปที่ Adjustments จะปรากฎแถบคำสั่งอีกชั่นหนึ่งขึ้นมาให้คลิกที่ Hue/Saturation จะปรากฎหน้าคำสั้งขึ้นมา (ในขั้นตอนนี้หากใช้ปุ่มลัดแค่กดปุ่ม "Ctrl+u" ที่แป้นคีย์บอร์ด) ในขั้นตอนนี้ให้เลือกที่คำสั้ง Saturation โดยคลิกแช่แล้วลาก หรือกรอกตัวเลขลงไปในช่องคำสั้ง Saturation เลยก็ได้ ภาพถัดมาก็ทำเหมือนกัน เพียงแต่ให้ความเข้มของภาพเพิ่มขึ้นหรือลดลง
เสร็จแล้วลองคลิก Play ก็จะได้ภาพกระพริบเรืองแสงอย่างที่เราต้องการ